ดาวชาละวัน Chalawan หรือ 47 ursae Majoris ชื่อดาวฤกษ์ที่สหพันธ์ดาราศาสตร์สากลได้คัดเลือกให้เป็นชื่อสามัญสากลชื่อแรกของไทย
ดาวชาละวัน หรือเดิมรู้จักในกันชื่อดาว “47 Ursae Majoris” เป็นดาวฤกษ์แคระสีเหลือง (Yellow Dwarf Star) อยู่ห่างจากโลกไปประมาณ 4ุ6 ปีแสง ในปี 2011 เป็นที่ยืนยันว่าดาวชาละวันมีดาวเคราะห์คล้ายดาวพฤหัสบดีของเราอยู่ 3 ดวงด้วยกัน
สำหรับที่มาของชื่อนี้ ถูกเสนอโดย นายสุภาภัทร
หากท่านต้องการสำรวจดาวฤกษ์ชาละวันนี้ สามารถใช้โปรแกรม Stellarium และกด Ctrl + F จากนั้นพิมพ์คำว่า “HIP 53721” (เป็นอีกชื่อเรียกของดาวชาละวัน)
ข้อมูลทั่วไปของดาวชาละวัน
ตำแหน่ง | 10h 59m 28.0s, +40° 25′ 49″ |
ความส่องสว่าวปรากฏ | +5.03 |
มวล | 1.08 เท่าของดวงอาทิตย์ (Sun) |
รัศมี | 1.172±0.111 เท่าของดวงอาทิตย์ |
มีอายุประมาณ | 6030 ล้านปี |
ดาวบริวาร | ~ 3 ดวง |
ชื่ออื่นๆ | BD+41°2147, FK5 1282, GC15087,
GCTP 2556.00, Gliese 407, HD 95128, HIP 53721, HR 4277,LTT 12934, SAO 43557 |
Reference and More Detail & Media
“47 Ursae Majoris.“. [Online]. via : Wikipedia 2015.